ขอเปิดเผยเอกสารรายละเอียดโครงการเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1 โครงการพัฒนาท่าเรือบริเวณแหลมริ่ว อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ภายใต้โครงการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบเบื้องต้น ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์รูปแบบโมเดลการพัฒนาการลงทุน (Business Development Model) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง เพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดา
ขอเปิดเผยเอกสารรายละเอียดโครงการเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1 โครงการพัฒนาท่าเรือบริเวณแหลมริ่ว อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ภายใต้โครงการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบเบื้องต้น ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์รูปแบบโมเดลการพัฒนาการลงทุน (Business Development Model) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง เพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน
สามารถดาวโหลดเอกสารประกอบการประชุมได้ที่
https://drive.google.com/drive/folders/1zo0FoC69r_u3EtbbNjpQGrH6ElNavJYQ?usp=drive_link
หรือสามารถสแกน QR CODE เอกสารประกอบการประชุมได้ที่ติดอยู่ในป้ายประชาสัมพันธ์ตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่โครงการ
ซึ่งกำหนดให้มีการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1
ในวันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ ห้องอวยชัยแกรนด์บอลรูม ชั้น 2 โรงแรมอวยชัยแกรนด์ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
โดยสามารถลงทะเบียนแจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมล่วงหน้า จนถึงวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ได้ที่ https://forms.gle/BUh6pwDwmazQtqpHA
และที่ : คุณชวฤทธิ์ ชะรอยรัมย์ โทรศัพท์ : 0-2763-2828 ต่อ 4088
E-mail : ehialandbridge.chumphonport@gmail.com
ขอเรียนเชิญเข้าร่วมประชุมสรุปผลการศึกษาโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 3) การศึกษาความเหมาะสม ด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย - ลาว หนองคาย - เวียงจันทน์ แห่งที่ 2
ประชาสัมพันธ์
ขอเรียนเชิญเข้าร่วมประชุมสรุปผลการศึกษาโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 3) การศึกษาความเหมาะสม ด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย - ลาว หนองคาย - เวียงจันทน์ แห่งที่ 2
วันจันทร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30 – 12.00 น.
ณ ห้องประชุมพันล้านคอนเวนชั่นฮอลล์ โรงแรมพันล้าน บูติค รีสอร์ท หนองคาย
อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
โดยสามารถลงทะเบียนแจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมได้ที่
โทรศัพท์ : 089-685-0601 หรือ 0-2763-2828 ต่อ 4083
โทรสาร : 0-2763-2830
E-mail : Thai.LaoBridge2@gmail.com
ลงทะเบียนออนไลน์ล่วงหน้า : https://forms.gle/c3ZQVuQAvMbdTkuj8
ฝากกดติดตามเฟซบุ๊กแฟนเพจ เพื่อติดตามข่าวสาร : https://www.facebook.com/profile.php?id=100087659928993
#ไทย #ลาว #หนองคาย #เวียงจันทน์ #สะพานมิตรภาพ #กรมทางหลวง
ขอเชิญเข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1 โครงการพัฒนาท่าเรือบริเวณแหลมริ่ว อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ภายใต้โครงการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบเบื้องต้น ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์รูปแบบโมเดลการพัฒนาการลงทุน (Business Development Model) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน
ขอเชิญเข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1 โครงการพัฒนาท่าเรือบริเวณแหลมริ่ว อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ภายใต้โครงการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบเบื้องต้น ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์รูปแบบโมเดลการพัฒนาการลงทุน
(Business Development Model) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ ห้องอวยชัยแกรนด์บอลรูม ชั้น 2 โรงแรมอวยชัยแกรนด์ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
โดยสามารถลงทะเบียนแจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมได้ที่
https://forms.gle/BUh6pwDwmazQtqpHA
สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมล่วงหน้า จนถึงวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2566
สอบถามขอข้อมูลเพิ่มเติม
คุณชวฤทธิ์ ชะรอยรัมย์
โทรศัพท์ : 0-2763-2828 ต่อ 4088
E-mail : ehialandbridge.chumphonport@gmail.com
ขอเชิญเข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1 โครงการพัฒนาท่าเรือบริเวณแหลมอ่าวอ่าง อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ภายใต้โครงการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบเบื้องต้น ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์รูปแบบโมเดลการพัฒนาการลงทุน (Business Development Model) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน
ขอเชิญเข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 1 โครงการพัฒนาท่าเรือบริเวณแหลมอ่าวอ่าง อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ภายใต้โครงการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบเบื้องต้น ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์รูปแบบโมเดล การพัฒนาการลงทุน (Business Development Model) โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน
เวทีที่ 1 วันพุธที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30-12.00 น.
ณ ห้องราชาวดี ชั้น 3 เฮอริเทจ แกรนด์ คอนเวนชั่น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
เวทีที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30-12.00 น.
ณ ห้องประชุมอุทยานแห่งชาติแหลมสน ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง
โดยสามารถลงทะเบียนแจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมได้ที่
https://forms.gle/48VhBTPmmsH9Y6J69
สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมล่วงหน้า จนถึงวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2566
สอบถามขอข้อมูลเพิ่มเติม
คุณชวฤทธิ์ ชะรอยรัมย์
โทรศัพท์ : 0-2763-2828
ต่อ 4088
E-mail : ehialandbridge.ranongport@gmail.com
สรุปผลการประชุมเพื่อหารือมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 2) โครงการการศึกษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจวิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาว หนองคาย-เวียงจันทน์ แห่งที่ 2
ขอนำส่งสรุปผลการประชุมเพื่อหารือมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 2) โครงการการศึกษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจวิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาว หนองคาย-เวียงจันทน์ แห่งที่ 2
โดยสามารถดาวน์โหลด ได้ที่https://drive.google.com/drive/folders/1lK8M6H6QObf5GchUr_gm7wEnX9pq2Pq9
สรุปกิจกรรมประชุมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ในการขับเคลื่อนนโยบายและ แผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศไปสู่การปฏิบัติ เดือน มีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2566
บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด (ยูเออี) ที่ปรึกษา โครงการขับเคลื่อนนโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ ไปสู่การปฏิบัติ ของ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (สคทช.) สรุปกิจกรรมประชุมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ในการขับเคลื่อนนโยบายและ แผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศไปสู่การปฏิบัติ เดือน มีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2566 ผู้เข้าร่วมประชุมรวม 1,146 คน การประชุมมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ในทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของของประเทศ รวมทั้งร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการจัดเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline Data) ตลอดจนแนวทางการขับเคลื่อนโครงการสำคัญ